Monday, 13 August 2007
การสื่อสารมวลชนเบื้องต้น
อาจารย์ผู้บรรยายวิชา
การสื่อสารมวลชนเบื้องต้น
สุรชัย ทิพย์สุมณฑา
ภาควิชาวิทยุและโทรทัศน์ คณะนิเทศศาสตร์
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณทิตย์
Contact by E-MAIL
ประวัติการศึกษา และการทำงาน
การศึกษา
ศิลปศาสตร์บัณฑิต (การสื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
-วิชาเอก การสื่อสารมวลชน
-วิชาโท ปรัชญา
วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตร ผู้ผลิตข่าวและรายการ สถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง ๕
ประกาศนียบัตร วิชาการแสดง โรงเรียนการแสดง สถานีโทรทัศน์สีช่อง ๓
Certificate for A 60 hour English language course in Listening-Speaking 1-2 , Thammasat U.
ความรู้ความสามารถพิเศษ
ถ่ายภาพนิ่ง ภาพยนตร์ วิดีโอ และตัดต่อ
คอมพิวเตอร์
เขียนบทความ บทวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์
วาดการ์ตูน ออกแบบงานศิลป และการพิมพ์
ความสามารถในการแสดง การเชิดหุ่นละคอน และกำกับการแสดง
การแต่งหน้าเพื่อการแสดง
ประสบการณ์การทำงาน
ด้านการประชาสัมพันธ์
งานประชาสัมพันธ์ มูลนิธิแพทย์อาสา สมเด็จพระศรีนครินฯ สำนักงานกลางวังสระปทุม
งานประชาสัมพันธ์ สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์
ด้านหนังสือพิมพ์
ฝ่ายผลิตหนังสื่อพิมพ์ "ไทยนิวส์รายวัน" จังหวัดเชียงใหม่
บรรณาธิการฝ่ายศิลป วารสารแพทย์อาสาฯ
กองบรรณาธิการ นิตยสารการถ่ายภาพ "คาเมร่า"
ที่ปรึกษากิติมศักดิ์ วารสาร "สื่อสารเทคโนโลยี"
ด้านโทรทัศน์
ผู้อำนวยการศูนย์แพร่ภาพโทรทัศน์ทางสาย(ชลบุรี)
ผู้อำนวยการผลิตฝ่ายบริหาร รายการสารคดีโทรทัศน์ "ไทยทัศน์ธุรกิจ" ช่อง ๙ อสมท.
ด้านวิทยุ
ผู้ผลิตและดำเนินรายการวิทยุ รายการ"คุยกับเพื่อนกับเพลง" สถานีวิทยุ ทอ. ๐๕ ประจวบฯ ผู้อำนวยการผลิตรายการ "สบายสบายบ่าย ๙๖" สถานีวิทยุ รด. เอฟ เอ็ม กรุงเทพฯ
ด้านโฆษณา
ฝ่ายสร้างสรรค์ บ.ซีเนโฟโตรีเสริท จำกัด ซีเนแอดสยาม
ผู้จัดการกองถ่าย บ.โอเรียนทัลวิดีโอโพดักชั่นเฮ้าส์ จำกัด
ผู้กำกับภาพ บ.อาร์ดีซี จำกัด
ผู้สร้างสรรค์ และควบคุมการผลิต ภาพยนตร์โฆษณาทางโทรทัศน์
ด้านการแสดง และภาพยนตร์
ผู้กำกับฝ่ายศิลป ละคอนเวที
ผู้แสดงสมทบ ละคอนโทรทัศน์ ช่อง ๓
ผู้ช่วยผู้กำกับภาพยนตร์ "ไกลปืนเที่ยง"
ร่วมเขียนบทละคอนโทรทัศน์ และภาพยนตร์
ด้านวิชาการ
อาจารย์ผู้บรรยาย วิชา นิเทศศาสตร์ วารสารศาสตร์ และการสื่อสารมวลชน
อาจารย์ที่ปรึกษา และ หัวหน้าสาขาวิชาการสื่อสารมวลชนและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
อาจารย์พิเศษบรรยายวิชาโปรแกรมนิเทศศาสตร์ สถาบันราชภัฎ สวนสุนันทา
ประสบการณ์วิชาที่บรรยาย ระหว่าง ปี ๒๕๓๒ - ปัจจุบ& Ntilde;น
INTRODUCTION TO PERFORMING ART
SCRIPT WRITING
TELEVISION PRODUCTION
TELEVISION EQUIPMENT
DIRECTING TEVEVISION PROGRAM
TELEVISION SCRIPT WRITING AND ANALYSIS
PHOTO JOURNALISM
UTILAZATION OF MEDIA FOR PUBLIC RELATIONS
PRODUCTION OF TELEVISION DOCUMENTARY
FUNDAMENTAL OF RADIO AND TELEVISION BROADCASTING
RADIO PERFORMANCE
RADIO PROGRAM PRODUCTION
BROADCASTING PROGRAMING
PUBLIC RELATIONS PRODUCTION TECHNIQUES FILM
ANALYSIS AND CRITICISM SCRIPT WRITING FOR FILM
INDIVIDALIZATION STUDY IN BROADCASTING
INTERPRETATION OF CURRENT AFFAIRS FOR COMMUNICATION
COMMUNICATION THEORY
INTRODUCTION TO MASS COMMUNICATION
งานวิจัย
การศึกษานโยบายและทิศทางการเรียนการสอนสาขาวิชาการสื่อ สารมวลชนในทศวรรษหน้า : ตามความคิดเห็นของนักวิชาการ สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน (The Search of Mass Communications Studies Trend with EFR in the next 10 years.)
ปี 2538
บทคัดย่อ
การศึกษานโยบายและทิศทางการเรียนการสอนสาขาวิชาการสื่อสารมวลชนในทศวรรษหน้า : ตามความคิดเห็นของนักวิชาการสาขาวิชาการสื่อสารมวลชน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) ด้วยการสัมภาษณ์ตามแนวการวิจัยอนาคตเชิงชาติพันธ์วรรณา(Ethnographic Futures Research, EFR) เกี่ยวกับแนวโน้มและทิศทางการศึกษาสาขาวิชาการสื่อสารมวลชนในช่วง พ.ศ. 2548 อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี การเมือง สังคมและเศรษฐกิจ ซึ่งคาดการณ์โดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นนักวิชาการ และผู้บริหารในสถาบันการศึกษาจากมหาวิทยาลัยของรัฐ และเอกชน จำนวน 24 ท่าน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความสัมพันธ์ของวิชาการต่อเครื่องแวดล้อมทางด้านจริยธรรม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเป้าหมายอันคาดหวังและไม่คาดหวังต่อการพัฒนาสังคมในอนาคต ผลการวิจัยพบว่า นโยบายและทิศทางการเรียนการสอนสาขาวิชาการสื่อสารมวลชนที่เป็นไปได้มากที่สุดในอีก 10 ปีข้างหน้าคือ.- การศึกษาจะต้องปรับให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีการสื่อสารและโทรคมนาคม การเปลี่ยนแปลงนั้นส่วนหนึ่งเข้ามาเสริมทักษะด้านอาชีพ และอีกส่วนหนึ่งสนับสนุนการศึกษาในระเบียบวิธีใหม่ เช่น การเรียนโดยผู้เรียนค้นคว้าจากเครือข่ายข้อมูลข่าวสารทางไกล คาดว่าจะเกิดองค์ความรู้ด้านทฤษฎีใหม่ๆจากการวิจัยเพื่อปรับใช้ให้เข้ากับสภาพสังคม การเมือง เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ตลอดจนระบบความเชื่อในระบบสังคมวัฒนธรรมดังเดิม เพื่อที่จะรู้เท่าทันกระแสโลกที่กดดัน ในองค์ความรู้วิชาการสื่อสารจะยังเป็นวิชาที่มีความสำคัญอยู่ต่อไปถ้านักศึกษาพัฒนาตัวเองอย่างมีสมรรถภาพเป็นที่ยอมรับของสังคมและสามารถแข่งขันกับบุคคลในสายวิชาการด้านอื่นที่สามารถเข้ามาทำงานแทนในตลาดอาชีพ สถาบันจะต้องเข้มข้นทางด้านวิชาการโดยผสานอย่างสอดคล้องกับการฝึกทักษะ อาจต้องสอนเน้นในเรื่องจริยธรรม คุณธรรม วัฒนธรรม เนื่องจากสังคมในอนาคตจะอ่อนเบาในความจริงจังต่อการประพฤติและปฏิบัติ ในด้านสิ่งแวดล้อม สื่อมวลชนจะมีบทบาทอันสำคัญที่จะปลุกเร้าให้สังคมตระหนัก ส่วนในความคาดหวังว่า บัณฑิตสาขาวิชาการสื่อสารมวลชนจะเป็นพลังสำคัญในการพัฒนาสังคมบ้านเมือง คงจะเป็นไปได้ในส่วนหนึ่งเท่านั้น ภาพการคาดการณ์ในอนาคตอีก 10 ปีข้างหน้า เศรษฐกิจจะดี ความเจริญทางวัตถุยังสำคัญกว่าจิตใจ สังคมจะมีลักษณะตัวใครตัวมัน การเมืองเป็นประชาธิปไตยแบบเสรี การพัฒนาหลักสูตรในอนาคต จึงต้อง&raq uo;รับการศึกษาให้ผู้ศึกษา รู้และเข้าใจ ทั้งมีความคิด และทักษะที่จะควบคุมเครื่องมือเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม ระบบดิจิตัล คอมพิวเตอร์ สื่อผสม และแบบโต้ตอบ ผ่านทางเครือข่าย ให้แพร่กระจายข่าวสารถึงกลุ่มผู้รับอย่างทั่วถึงมีประสิทธิภาพโดยเนื้อหาได้ ผู้ศึกษาควรต้องมีทักษะด้านภาษาดีในหลายภาษาเพื่อการติดต่อสื่อสารและการทำงานในลักษณะสากล สถาบันต้องเพิ่มความสามารถที่จะจัดเตรียมความพร้อมของการแลกเปลี่ยนการศึกษา วิจัย กับมหาวิทยาลัยหรือชุมชนวิชาการ ทั้งภายในประเทศและนอกประเทศ ทั้งมีความอ่อนตัวในการให้การศึกษาทางไกลผ่านสื่อ สำหรับในด้านการศึกษากับระบบสังคมวัฒนธรรม จะต้องให้ความรู้ความเข้าใจอย่างรู้เท่าทันในสถานการณ์ปัจจุบัน ตระหนักต่อความเป็นจริงในกระแสสังคม การเมือง เศรษฐกิจ ระดับประเทศ และระดับโลก และควรจะเพิ่มเน้นการศึกษา ในหลักสูตร ในเนื้อหา ในวิธีการเรียนการสอน ด้านจริยธรรม คุณธรรม ต้องศึกษาเข้าใจในวัฒนธรรมชาติ และสากล ควรเพิ่มหลักสูตรเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เช่นนิเวทวิทยาการสื่อสาร และในประเด็นการศึกษากับการสร้างนวัตกรรมสังคม ควรต้องเติม อุดมการ ปรัชญา ให้ผู้ศึกษามองการศึกษาเป็นปัจจัยเสริมของการพัฒนาโดยรู้ถึงการทำหน้าที่อย่างชอบธรรมเพื่อสร้างความรุ่งเรืองของสังคมและประเทศชาติไปในทิศทางที่ถูกต้อง
Title :
The Search of Mass Communications Studies Trend with EFR in the next 10 years.
Year : 1995
ABSTRACT
“The Search of Mass Communications Studies Trend with EFR in the next 10 years.” analyzed qualitatively using Ethnographic Futures Research technique, (EFR) projected toward year 1996-2005 affects form modern technologies, politics, social and economics. This Studies worked out by anticipation of a group of academic experts whose a academic positions ranged form 24 officials in 11 public and private universities. The objective of this studies was to search the relationships among the curriculum with the atmosphere on ethics, culture and environment, hoping cordially to understand social development of the future. According to the studies find out that most of the trend of Mass Communications education by the next 10 years, must be modified methods of education by the changes of Communication and Tele-Communication technologies, added professional skills, and also new educated processes, for example how to learn and study by using information on On-line network. The research projected to develop new concepts more suitable to the social, political, economic and environment, as well as conserved traditional believes, with the understand of the pressure of world current. Body knowledge still required in the future, if the students upgrade themselves efficiency acceptable by society and can be competed with those who studies other fields. Higher Education Institutes must be academic stronger with harmonious of learning theories and training skills, may be emphasized more on ethics, morals and cultures, because of human weaknesses and carelessness. Mass media must play important roles to arouse society awareness. Though the concept that Mass Communications graduates would be the main power of social development is hardly expectable. The Scenario of next 10 years predicted with better economic, seen to be deal with matters more than morale, also mode of living in an atmosphere of liberal democratic policies. How to modify the curriculum in the future, its to adjust students how to learn and understand more sensible as well as skills to control the Tele-Communications tools, such as digital hardware, computer, multi-media and interactive-media by On-line networks, circulated toward audiences widely with good messages. The student must be proficient in many languages for universal corresponding and usages. The Academics institutes ought to be well prepared to cope with academic exchange with other academics institutes and community, local or abroad, facilitated distance learnings by media. Social-cultural system have to be realized by students with current affair, awareness about social, politic, and economic changes not enough nationally but have to be globalization. Ethics and morals had to be included in curriculum, context and teaching method. Intensive studied in Thai cultural as well as universal. Environment realization must be also added in curriculum, such as Eco-communications. Since Educational system in one point is a social innovation, then suggested to fulfill the student base and best supporter of ideology and philosophy to understanding that education is development, with enable the student to work out their duty, for the successful of the becoming sustainable society.
การสื่อสารมวลชนเบื้องต้น
สุรชัย ทิพย์สุมณฑา
ภาควิชาวิทยุและโทรทัศน์ คณะนิเทศศาสตร์
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณทิตย์
Contact by E-MAIL
ประวัติการศึกษา และการทำงาน
การศึกษา
ศิลปศาสตร์บัณฑิต (การสื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
-วิชาเอก การสื่อสารมวลชน
-วิชาโท ปรัชญา
วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประกาศนียบัตร ประกาศนียบัตร ผู้ผลิตข่าวและรายการ สถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง ๕
ประกาศนียบัตร วิชาการแสดง โรงเรียนการแสดง สถานีโทรทัศน์สีช่อง ๓
Certificate for A 60 hour English language course in Listening-Speaking 1-2 , Thammasat U.
ความรู้ความสามารถพิเศษ
ถ่ายภาพนิ่ง ภาพยนตร์ วิดีโอ และตัดต่อ
คอมพิวเตอร์
เขียนบทความ บทวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์
วาดการ์ตูน ออกแบบงานศิลป และการพิมพ์
ความสามารถในการแสดง การเชิดหุ่นละคอน และกำกับการแสดง
การแต่งหน้าเพื่อการแสดง
ประสบการณ์การทำงาน
ด้านการประชาสัมพันธ์
งานประชาสัมพันธ์ มูลนิธิแพทย์อาสา สมเด็จพระศรีนครินฯ สำนักงานกลางวังสระปทุม
งานประชาสัมพันธ์ สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์
ด้านหนังสือพิมพ์
ฝ่ายผลิตหนังสื่อพิมพ์ "ไทยนิวส์รายวัน" จังหวัดเชียงใหม่
บรรณาธิการฝ่ายศิลป วารสารแพทย์อาสาฯ
กองบรรณาธิการ นิตยสารการถ่ายภาพ "คาเมร่า"
ที่ปรึกษากิติมศักดิ์ วารสาร "สื่อสารเทคโนโลยี"
ด้านโทรทัศน์
ผู้อำนวยการศูนย์แพร่ภาพโทรทัศน์ทางสาย(ชลบุรี)
ผู้อำนวยการผลิตฝ่ายบริหาร รายการสารคดีโทรทัศน์ "ไทยทัศน์ธุรกิจ" ช่อง ๙ อสมท.
ด้านวิทยุ
ผู้ผลิตและดำเนินรายการวิทยุ รายการ"คุยกับเพื่อนกับเพลง" สถานีวิทยุ ทอ. ๐๕ ประจวบฯ ผู้อำนวยการผลิตรายการ "สบายสบายบ่าย ๙๖" สถานีวิทยุ รด. เอฟ เอ็ม กรุงเทพฯ
ด้านโฆษณา
ฝ่ายสร้างสรรค์ บ.ซีเนโฟโตรีเสริท จำกัด ซีเนแอดสยาม
ผู้จัดการกองถ่าย บ.โอเรียนทัลวิดีโอโพดักชั่นเฮ้าส์ จำกัด
ผู้กำกับภาพ บ.อาร์ดีซี จำกัด
ผู้สร้างสรรค์ และควบคุมการผลิต ภาพยนตร์โฆษณาทางโทรทัศน์
ด้านการแสดง และภาพยนตร์
ผู้กำกับฝ่ายศิลป ละคอนเวที
ผู้แสดงสมทบ ละคอนโทรทัศน์ ช่อง ๓
ผู้ช่วยผู้กำกับภาพยนตร์ "ไกลปืนเที่ยง"
ร่วมเขียนบทละคอนโทรทัศน์ และภาพยนตร์
ด้านวิชาการ
อาจารย์ผู้บรรยาย วิชา นิเทศศาสตร์ วารสารศาสตร์ และการสื่อสารมวลชน
อาจารย์ที่ปรึกษา และ หัวหน้าสาขาวิชาการสื่อสารมวลชนและสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
อาจารย์พิเศษบรรยายวิชาโปรแกรมนิเทศศาสตร์ สถาบันราชภัฎ สวนสุนันทา
ประสบการณ์วิชาที่บรรยาย ระหว่าง ปี ๒๕๓๒ - ปัจจุบ& Ntilde;น
INTRODUCTION TO PERFORMING ART
SCRIPT WRITING
TELEVISION PRODUCTION
TELEVISION EQUIPMENT
DIRECTING TEVEVISION PROGRAM
TELEVISION SCRIPT WRITING AND ANALYSIS
PHOTO JOURNALISM
UTILAZATION OF MEDIA FOR PUBLIC RELATIONS
PRODUCTION OF TELEVISION DOCUMENTARY
FUNDAMENTAL OF RADIO AND TELEVISION BROADCASTING
RADIO PERFORMANCE
RADIO PROGRAM PRODUCTION
BROADCASTING PROGRAMING
PUBLIC RELATIONS PRODUCTION TECHNIQUES FILM
ANALYSIS AND CRITICISM SCRIPT WRITING FOR FILM
INDIVIDALIZATION STUDY IN BROADCASTING
INTERPRETATION OF CURRENT AFFAIRS FOR COMMUNICATION
COMMUNICATION THEORY
INTRODUCTION TO MASS COMMUNICATION
งานวิจัย
การศึกษานโยบายและทิศทางการเรียนการสอนสาขาวิชาการสื่อ สารมวลชนในทศวรรษหน้า : ตามความคิดเห็นของนักวิชาการ สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน (The Search of Mass Communications Studies Trend with EFR in the next 10 years.)
ปี 2538
บทคัดย่อ
การศึกษานโยบายและทิศทางการเรียนการสอนสาขาวิชาการสื่อสารมวลชนในทศวรรษหน้า : ตามความคิดเห็นของนักวิชาการสาขาวิชาการสื่อสารมวลชน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis) ด้วยการสัมภาษณ์ตามแนวการวิจัยอนาคตเชิงชาติพันธ์วรรณา(Ethnographic Futures Research, EFR) เกี่ยวกับแนวโน้มและทิศทางการศึกษาสาขาวิชาการสื่อสารมวลชนในช่วง พ.ศ. 2548 อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี การเมือง สังคมและเศรษฐกิจ ซึ่งคาดการณ์โดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นนักวิชาการ และผู้บริหารในสถาบันการศึกษาจากมหาวิทยาลัยของรัฐ และเอกชน จำนวน 24 ท่าน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความสัมพันธ์ของวิชาการต่อเครื่องแวดล้อมทางด้านจริยธรรม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเป้าหมายอันคาดหวังและไม่คาดหวังต่อการพัฒนาสังคมในอนาคต ผลการวิจัยพบว่า นโยบายและทิศทางการเรียนการสอนสาขาวิชาการสื่อสารมวลชนที่เป็นไปได้มากที่สุดในอีก 10 ปีข้างหน้าคือ.- การศึกษาจะต้องปรับให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีการสื่อสารและโทรคมนาคม การเปลี่ยนแปลงนั้นส่วนหนึ่งเข้ามาเสริมทักษะด้านอาชีพ และอีกส่วนหนึ่งสนับสนุนการศึกษาในระเบียบวิธีใหม่ เช่น การเรียนโดยผู้เรียนค้นคว้าจากเครือข่ายข้อมูลข่าวสารทางไกล คาดว่าจะเกิดองค์ความรู้ด้านทฤษฎีใหม่ๆจากการวิจัยเพื่อปรับใช้ให้เข้ากับสภาพสังคม การเมือง เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ตลอดจนระบบความเชื่อในระบบสังคมวัฒนธรรมดังเดิม เพื่อที่จะรู้เท่าทันกระแสโลกที่กดดัน ในองค์ความรู้วิชาการสื่อสารจะยังเป็นวิชาที่มีความสำคัญอยู่ต่อไปถ้านักศึกษาพัฒนาตัวเองอย่างมีสมรรถภาพเป็นที่ยอมรับของสังคมและสามารถแข่งขันกับบุคคลในสายวิชาการด้านอื่นที่สามารถเข้ามาทำงานแทนในตลาดอาชีพ สถาบันจะต้องเข้มข้นทางด้านวิชาการโดยผสานอย่างสอดคล้องกับการฝึกทักษะ อาจต้องสอนเน้นในเรื่องจริยธรรม คุณธรรม วัฒนธรรม เนื่องจากสังคมในอนาคตจะอ่อนเบาในความจริงจังต่อการประพฤติและปฏิบัติ ในด้านสิ่งแวดล้อม สื่อมวลชนจะมีบทบาทอันสำคัญที่จะปลุกเร้าให้สังคมตระหนัก ส่วนในความคาดหวังว่า บัณฑิตสาขาวิชาการสื่อสารมวลชนจะเป็นพลังสำคัญในการพัฒนาสังคมบ้านเมือง คงจะเป็นไปได้ในส่วนหนึ่งเท่านั้น ภาพการคาดการณ์ในอนาคตอีก 10 ปีข้างหน้า เศรษฐกิจจะดี ความเจริญทางวัตถุยังสำคัญกว่าจิตใจ สังคมจะมีลักษณะตัวใครตัวมัน การเมืองเป็นประชาธิปไตยแบบเสรี การพัฒนาหลักสูตรในอนาคต จึงต้อง&raq uo;รับการศึกษาให้ผู้ศึกษา รู้และเข้าใจ ทั้งมีความคิด และทักษะที่จะควบคุมเครื่องมือเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม ระบบดิจิตัล คอมพิวเตอร์ สื่อผสม และแบบโต้ตอบ ผ่านทางเครือข่าย ให้แพร่กระจายข่าวสารถึงกลุ่มผู้รับอย่างทั่วถึงมีประสิทธิภาพโดยเนื้อหาได้ ผู้ศึกษาควรต้องมีทักษะด้านภาษาดีในหลายภาษาเพื่อการติดต่อสื่อสารและการทำงานในลักษณะสากล สถาบันต้องเพิ่มความสามารถที่จะจัดเตรียมความพร้อมของการแลกเปลี่ยนการศึกษา วิจัย กับมหาวิทยาลัยหรือชุมชนวิชาการ ทั้งภายในประเทศและนอกประเทศ ทั้งมีความอ่อนตัวในการให้การศึกษาทางไกลผ่านสื่อ สำหรับในด้านการศึกษากับระบบสังคมวัฒนธรรม จะต้องให้ความรู้ความเข้าใจอย่างรู้เท่าทันในสถานการณ์ปัจจุบัน ตระหนักต่อความเป็นจริงในกระแสสังคม การเมือง เศรษฐกิจ ระดับประเทศ และระดับโลก และควรจะเพิ่มเน้นการศึกษา ในหลักสูตร ในเนื้อหา ในวิธีการเรียนการสอน ด้านจริยธรรม คุณธรรม ต้องศึกษาเข้าใจในวัฒนธรรมชาติ และสากล ควรเพิ่มหลักสูตรเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เช่นนิเวทวิทยาการสื่อสาร และในประเด็นการศึกษากับการสร้างนวัตกรรมสังคม ควรต้องเติม อุดมการ ปรัชญา ให้ผู้ศึกษามองการศึกษาเป็นปัจจัยเสริมของการพัฒนาโดยรู้ถึงการทำหน้าที่อย่างชอบธรรมเพื่อสร้างความรุ่งเรืองของสังคมและประเทศชาติไปในทิศทางที่ถูกต้อง
Title :
The Search of Mass Communications Studies Trend with EFR in the next 10 years.
Year : 1995
ABSTRACT
“The Search of Mass Communications Studies Trend with EFR in the next 10 years.” analyzed qualitatively using Ethnographic Futures Research technique, (EFR) projected toward year 1996-2005 affects form modern technologies, politics, social and economics. This Studies worked out by anticipation of a group of academic experts whose a academic positions ranged form 24 officials in 11 public and private universities. The objective of this studies was to search the relationships among the curriculum with the atmosphere on ethics, culture and environment, hoping cordially to understand social development of the future. According to the studies find out that most of the trend of Mass Communications education by the next 10 years, must be modified methods of education by the changes of Communication and Tele-Communication technologies, added professional skills, and also new educated processes, for example how to learn and study by using information on On-line network. The research projected to develop new concepts more suitable to the social, political, economic and environment, as well as conserved traditional believes, with the understand of the pressure of world current. Body knowledge still required in the future, if the students upgrade themselves efficiency acceptable by society and can be competed with those who studies other fields. Higher Education Institutes must be academic stronger with harmonious of learning theories and training skills, may be emphasized more on ethics, morals and cultures, because of human weaknesses and carelessness. Mass media must play important roles to arouse society awareness. Though the concept that Mass Communications graduates would be the main power of social development is hardly expectable. The Scenario of next 10 years predicted with better economic, seen to be deal with matters more than morale, also mode of living in an atmosphere of liberal democratic policies. How to modify the curriculum in the future, its to adjust students how to learn and understand more sensible as well as skills to control the Tele-Communications tools, such as digital hardware, computer, multi-media and interactive-media by On-line networks, circulated toward audiences widely with good messages. The student must be proficient in many languages for universal corresponding and usages. The Academics institutes ought to be well prepared to cope with academic exchange with other academics institutes and community, local or abroad, facilitated distance learnings by media. Social-cultural system have to be realized by students with current affair, awareness about social, politic, and economic changes not enough nationally but have to be globalization. Ethics and morals had to be included in curriculum, context and teaching method. Intensive studied in Thai cultural as well as universal. Environment realization must be also added in curriculum, such as Eco-communications. Since Educational system in one point is a social innovation, then suggested to fulfill the student base and best supporter of ideology and philosophy to understanding that education is development, with enable the student to work out their duty, for the successful of the becoming sustainable society.