Saturday, 22 September 2007
อัลไซเมอร์ - อย่าให้เป็นเรา
อัลไซเมอร์ - อย่าให้เป็นเรา
> >
> > อัลไซเมอร์ถือเป็นโรคที่บั่นทอนทั้งทางร่างกายและจิตใจ
> >ไม่ได้ทำลายเฉพาะผู้ป่วยแต่ทำลายคนใกล้ชิดของผู้ป่วยอย่างยากที่จะทน
> >
> >ลูกของคนไข้อัลไซเมอร์คนหนึ่งพูดถึงอัลไซเมอร์ว่ามันคือขโมยที่เข้ามาขโมยวิญญาณ
> >ขโมยหัวใจของคนที่เรารักไปนี่คือ อัลไซเมอร์-โรคที่ไม่มีใครอยากเป็น
> >และไม่อยากให้คนที่รักเป็น
> > " นวลศรี อนันตกูล" เล่าถึงผู้เป็นพี่สาว "จรัสศรี อนันตกูล"
> >ว่าพี่สาวเป็นคนเก่ง เป็นคนสวยโดยสมัยที่ยังสาวก็ยิ่งสวยและมีเสน่ห์
> >เรียนจบปริญญา
> >โทแล้วเข้าทำงานรับราชการที่กรมพัฒนาที่ดินในตำแหน่งนักวิทยาศาสตร์วิจัยดิน
> >ขับรถเก่ง เปรี้ยวและกล้าตัดสินใจแต่แล้วก่อนที่จะเกษียณสัก 5-6 ปี
> >จรัสศรีเริ่มมีอาการหลงลืม
> >รถขับกลับบ้านชนยับเยินมาทีเดียวแต่เมื่อถามก็ตอบไม่ถูกว่าเกิดอะไรขึ้น หนักๆ
> >เข้าก็ลืมวิธีขับรถโดยขณะที่ขับรถไปด้วยกันนั้นเอง
> >ก็ขับต่อไม่ถูกกรีดเสียงตะโกนเสียงแหลมด้วยความตกใจสุดขีดว่า
> >"ฉันขับต่อไปไม่ได้ ไม่รู้วิธีขับรถ!"
> >
> > ทุกวันนี้ จรัสศรีเป็นคนป่วยโรคอัลไซเมอร์เกือบขั้นสุดท้ายแล้ว
> >นั่นคือ ไม่
> >สามารถจดจำในสิ่งใดได้ ลืมสิ้นทุกคนที่เคยรู้จัก ลืมวิธีการกิน การเดิน การพูด
> >ชีวิตประจำวันเป็นไปอย่างยากลำบากทั้งตัวผู้ป่วยเองและผู้ดูแลนวลศรีต้องอาบน้ำป้อนข้าว
> >ดูแลทุกอย่างทั้งการขับถ่าย
> >และเมื่อเห็นแววตาพี่สาวคือจรัสศรีมองมายังตนแล้วนวลศรีก็อดสะท้อนใจไม่ได้เพราะแววตานั้น
> >ไร้สิ้นซึ่งความหมายและความจดจำใดๆนี่คือ ความน่าสะพรึงกลัวของอัลไซเมอร์
> >ที่หากไม่อยากเป็นก็ต้องป้องกันตั้งแต่ยังไม่มีอาการ
> > ทำอย่างไร สมองไม่เสื่อมพญ.สิรินทร ฉันศิริกาญจน
> >นายกสมาคมผู้ดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
> >กล่าวว่าเนื่องจากปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริงของโรค
> >จึงยังไม่มีวิธีป้องกัน อย่างไรก็ตามโรคสมองเสื่อมจากหลอดเลือดสมองตีบ
> >ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของ
> >โรคสมองเสื่อมในคนไทยสามารถป้องกันได้โดยการรับประทานอาหารที่เหมาะสม
> >การออกกำลังกาย การเลิกบุหรี่และการงดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเด็ดขาด
> >
> > 1. รับประทานอาหารที่ช่วยลดและชะลอความเสื่อมของเซลล์สมอง
> >และสารสื่อประสาท พบในธัญพืชต่างๆ จมูกข้าวสาลี ถั่วลิสง ข้าวกล้อง มันฝรั่ง
> >กล้วย กะหล่ำปลี นมสดผักต่างๆช็อกโกแลต ขณะเดียวกันก็หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง
> >อาหารจำพวกแป้ง น้ำตาล ของหวาน ผลไม้รสหวานจัดโดยพยายามทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
> > สำหรับโปรตีน
> >เน้นเนื้อปลาบ่อยครั้งที่ผู้สูงอายุไม่เจริญอาหารเนื่องจากขาดความกระตือรือล้นที่จะรับประทานหาสาเหตุให้พบและแก้ไข
> >พึงสังวรว่าสารอาหารในแต่ละมื้อจำเป็นต่อสมอง ของท่าน
> >
> > 2. หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็ม ของหมักดอง และอาหารที่ใส่ผงชูรส
> >หลีกเลี่ยงกาเฟอีนในเครื่องดื่มพวกชากาแฟหรือโคล่า
> >เพราะอาหารและเครื่องดื่มเหล่านี้
> >ทำให้ร่างกายขาดน้ำได้ส่งผลให้วิตามินแร่ธาตุที่สำคัญเช่น วิตามินบีรวม
> >โปแตสเซียม สังกะสี ถูกทำลาย สมองทำงานแย่
> >
> > 3. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ โดยผู้สูงอายุสามารถออกกำลังเบาๆ เช่นทำโยคะ
> >หรือไทเก๊กที่เหมาะสมกับสุขภาพกาย ควบคุมน้ำหนักตัวไม่ให้เกินพิกัด
> >
> > 4. การควบคุมอาหารทำควบคู่กับการลดความเครียด
> >ส่วนบุหรี่และแอลกอฮอล์งดเด็ดขาด
> >
> > 5. อย่าลืมดูแลตัวเองด้านจิตสังคม ด้วย
> >รวมทั้งด้านกายภาพบำบัดและกิจกรรมฟื้นฟูความจำจัดกิจกรรมสำหรับตัวเองให้ใช้ความคิดอย่างสม่ำเสมอ
> >เช่นคิดเลขเมื่อไปจ่ายตลาด บวกเลขทะเบียนรถ นับเลขถอยหลังจาก 500-1
> >เป็นต้นนอกจากนี้ การเข้ากิจกรรม สังคมในทุกเรื่อง เช่น ร้องเพลง เล่นเกม
> >เต้นรำ ฯลฯมีส่วนสำคัญต่อการป้องกันโรคสมองเสื่อมได้ทั้งสิ้น
> >
> > แบบทดส อบต่อไปนี้ แปลจากบทความใน British Medical Association
> >โดยชาญกัญญา ตันติลีปิกร ( วท.ม.จิตวิทยาคลินิก)
> >สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยมหิดลและ พญ.โสภา
> >เกริกไกรกุล หน่วยประสาทวิทยา วิทยาลัยแพทยศาสตร์ กรุงเทพฯ
> >และวชิรพยาบาลขอย้ำว่าเป็นแบบทดสอบเบื้องต้นเท่านั้น ซึ่งแม้จะตอบว่า "ใช่"
> >ทุกข้อก็ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นอาการของอัลไซเมอร์
> >ทุกกรณีไปเนื่องจากการวินิจฉัยโรคจะมีปัจจัยเรื่องความถี่ที่ต้องนำมาพิจารณาด้วย
> >
> >1. หาของใช้ในบ้านไม่พบ
> >
> >2. จำสถานที่ที่เคยไปบ่อยๆ ไม่ได้
> >
> >3. ต้องกลับไปทบทวนงานที่แม้จะตั้งใจทำซ้ำถึง 2 ครั้ง
> >
> >4. ลืมของที่ตั้งใจว่าจะนำเอาออกไปนอกบ้านด้วย
> >
> >5. ลืมเรื่องที่ได้รับฟังมาเมื่อวานนี้หรือเมื่อ 2-3 วันก่อน
> >
> >6. ลืมเพื่อนสนิทหรือญาติสนิทหรือบุคคลที่คบหากันบ่อยๆ
> >
> >7. ไม่สามารถเข้าใจเนื้อเรื่องในหนังสือพิมพ์หรือวารสารที่อ่าน
> >
> >8. ลืมบอกข้อความที่คนอื่น วานให้มาบอกอีกคนหนึ่ง
> >
> >9. ลืมข้อมูลส่วนตัวของตนเอง เช่น วันเกิด ที่อยู่
> >
> >10. สับสนในรายละเอียดของเรื่องที่ได้รับฟังมา
> >
> >11. ลืมที่ที่เคยวางสิ่งของนั้นเป็นประจำ
> >หรือมองหาสิ่งของนั้นในที่ที่ไม่น่าจะ
> >วางไว้
> >
> >12. ขณะเดินทางหรือเดินเล่นอยู่ในอาคารที่เคยไปบ่อยๆ
> >มักเกิดเหตุการณ์หลงทิศหรือหลงทาง
> >
> >13. ต้องทำกิจวัตรประจำวันบางอย่างซ้ำถึง 2 ครั้ง
> >เพราะมีความผิดพลาดเกิดขึ้นเช่น ใส่น้ำตาลมากเกินไปในเวลาปรุงอาหาร
> >หรือเดินไปหวีผมซ้ำอีกครั้ง ซึ่งเมื่อ สักครู่เพิ่งได้หวีผมเสร็จ
> >
> >14. เล่าเรื่องเดิมซ้ำอีกครั้ง ซึ่งเมื่อสักครู่เพิ่งได้เล่าเสร็จ
> >
> >ถ้าติ๊กถูกทุกข้อ ก็ระวังหน่อย อาจถึงเวลาต้องไปพบแพทย์เพื่อให้วินิจฉัยเกี่ยว
> >กับระดับความถี่ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นด้วย
> >
> > ปี 2548 ไทยมีผู้ป่วยด้วยโรคอัลไซเมอร์ 1.94 แสนคนและในปี 2549
> >ตัวเลขขยับขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 2-3
> >แสนคนโดยประมาณการผู้ป่วยในไทยคาดว่าจะทะลุหลักล้านภายใน 30 ปีข้างหน้า !"
> >พญ.สิรินทร กล่าว โรคนี้น่ากลัวกว่ามะเร็ง
> >เพราะมะเร็งอาจหายหรือไม่หาย แต่อัลไซเมอร์ ไม่มีทางหาย ถ้าไม่อยากเป็น 1
> >ในล้านคนของผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์
> >ก็ต้องพยายามทำตัวให้ห่างจากปัจจัยเสี่ยงศึกษาข้อมูลและเริ่มต้นปฏิบัติอย่างจริงจัง
> >โรคร้ายนี้ไม่เข้าใครออกใคร
> >เคยเก่งเคยฉลาดเป็นดอกเตอร์แต่ตัวอย่างก็มีให้เห็นมากมายว่าทั้งเก่งทั้งรอบรู้ขนาดไหนก็เป็นอัลไซเมอร์ได้เหมือนกัน
> > แต่ก็ไม่ต้องวิตกหรือกลัวมากเกินเหตุ ที่ขี้หลงขี้ลืมถี่ขึ้นพักหลังๆ นี้
> >อาจเป็นเพียงความเสื่อมธรรมดา หากกังวลก็ไปพบแพทย์
>
> >
> > อัลไซเมอร์ถือเป็นโรคที่บั่นทอนทั้งทางร่างกายและจิตใจ
> >ไม่ได้ทำลายเฉพาะผู้ป่วยแต่ทำลายคนใกล้ชิดของผู้ป่วยอย่างยากที่จะทน
> >
> >ลูกของคนไข้อัลไซเมอร์คนหนึ่งพูดถึงอัลไซเมอร์ว่ามันคือขโมยที่เข้ามาขโมยวิญญาณ
> >ขโมยหัวใจของคนที่เรารักไปนี่คือ อัลไซเมอร์-โรคที่ไม่มีใครอยากเป็น
> >และไม่อยากให้คนที่รักเป็น
> > " นวลศรี อนันตกูล" เล่าถึงผู้เป็นพี่สาว "จรัสศรี อนันตกูล"
> >ว่าพี่สาวเป็นคนเก่ง เป็นคนสวยโดยสมัยที่ยังสาวก็ยิ่งสวยและมีเสน่ห์
> >เรียนจบปริญญา
> >โทแล้วเข้าทำงานรับราชการที่กรมพัฒนาที่ดินในตำแหน่งนักวิทยาศาสตร์วิจัยดิน
> >ขับรถเก่ง เปรี้ยวและกล้าตัดสินใจแต่แล้วก่อนที่จะเกษียณสัก 5-6 ปี
> >จรัสศรีเริ่มมีอาการหลงลืม
> >รถขับกลับบ้านชนยับเยินมาทีเดียวแต่เมื่อถามก็ตอบไม่ถูกว่าเกิดอะไรขึ้น หนักๆ
> >เข้าก็ลืมวิธีขับรถโดยขณะที่ขับรถไปด้วยกันนั้นเอง
> >ก็ขับต่อไม่ถูกกรีดเสียงตะโกนเสียงแหลมด้วยความตกใจสุดขีดว่า
> >"ฉันขับต่อไปไม่ได้ ไม่รู้วิธีขับรถ!"
> >
> > ทุกวันนี้ จรัสศรีเป็นคนป่วยโรคอัลไซเมอร์เกือบขั้นสุดท้ายแล้ว
> >นั่นคือ ไม่
> >สามารถจดจำในสิ่งใดได้ ลืมสิ้นทุกคนที่เคยรู้จัก ลืมวิธีการกิน การเดิน การพูด
> >ชีวิตประจำวันเป็นไปอย่างยากลำบากทั้งตัวผู้ป่วยเองและผู้ดูแลนวลศรีต้องอาบน้ำป้อนข้าว
> >ดูแลทุกอย่างทั้งการขับถ่าย
> >และเมื่อเห็นแววตาพี่สาวคือจรัสศรีมองมายังตนแล้วนวลศรีก็อดสะท้อนใจไม่ได้เพราะแววตานั้น
> >ไร้สิ้นซึ่งความหมายและความจดจำใดๆนี่คือ ความน่าสะพรึงกลัวของอัลไซเมอร์
> >ที่หากไม่อยากเป็นก็ต้องป้องกันตั้งแต่ยังไม่มีอาการ
> > ทำอย่างไร สมองไม่เสื่อมพญ.สิรินทร ฉันศิริกาญจน
> >นายกสมาคมผู้ดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
> >กล่าวว่าเนื่องจากปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริงของโรค
> >จึงยังไม่มีวิธีป้องกัน อย่างไรก็ตามโรคสมองเสื่อมจากหลอดเลือดสมองตีบ
> >ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของ
> >โรคสมองเสื่อมในคนไทยสามารถป้องกันได้โดยการรับประทานอาหารที่เหมาะสม
> >การออกกำลังกาย การเลิกบุหรี่และการงดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเด็ดขาด
> >
> > 1. รับประทานอาหารที่ช่วยลดและชะลอความเสื่อมของเซลล์สมอง
> >และสารสื่อประสาท พบในธัญพืชต่างๆ จมูกข้าวสาลี ถั่วลิสง ข้าวกล้อง มันฝรั่ง
> >กล้วย กะหล่ำปลี นมสดผักต่างๆช็อกโกแลต ขณะเดียวกันก็หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง
> >อาหารจำพวกแป้ง น้ำตาล ของหวาน ผลไม้รสหวานจัดโดยพยายามทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
> > สำหรับโปรตีน
> >เน้นเนื้อปลาบ่อยครั้งที่ผู้สูงอายุไม่เจริญอาหารเนื่องจากขาดความกระตือรือล้นที่จะรับประทานหาสาเหตุให้พบและแก้ไข
> >พึงสังวรว่าสารอาหารในแต่ละมื้อจำเป็นต่อสมอง ของท่าน
> >
> > 2. หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็ม ของหมักดอง และอาหารที่ใส่ผงชูรส
> >หลีกเลี่ยงกาเฟอีนในเครื่องดื่มพวกชากาแฟหรือโคล่า
> >เพราะอาหารและเครื่องดื่มเหล่านี้
> >ทำให้ร่างกายขาดน้ำได้ส่งผลให้วิตามินแร่ธาตุที่สำคัญเช่น วิตามินบีรวม
> >โปแตสเซียม สังกะสี ถูกทำลาย สมองทำงานแย่
> >
> > 3. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ โดยผู้สูงอายุสามารถออกกำลังเบาๆ เช่นทำโยคะ
> >หรือไทเก๊กที่เหมาะสมกับสุขภาพกาย ควบคุมน้ำหนักตัวไม่ให้เกินพิกัด
> >
> > 4. การควบคุมอาหารทำควบคู่กับการลดความเครียด
> >ส่วนบุหรี่และแอลกอฮอล์งดเด็ดขาด
> >
> > 5. อย่าลืมดูแลตัวเองด้านจิตสังคม ด้วย
> >รวมทั้งด้านกายภาพบำบัดและกิจกรรมฟื้นฟูความจำจัดกิจกรรมสำหรับตัวเองให้ใช้ความคิดอย่างสม่ำเสมอ
> >เช่นคิดเลขเมื่อไปจ่ายตลาด บวกเลขทะเบียนรถ นับเลขถอยหลังจาก 500-1
> >เป็นต้นนอกจากนี้ การเข้ากิจกรรม สังคมในทุกเรื่อง เช่น ร้องเพลง เล่นเกม
> >เต้นรำ ฯลฯมีส่วนสำคัญต่อการป้องกันโรคสมองเสื่อมได้ทั้งสิ้น
> >
> > แบบทดส อบต่อไปนี้ แปลจากบทความใน British Medical Association
> >โดยชาญกัญญา ตันติลีปิกร ( วท.ม.จิตวิทยาคลินิก)
> >สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยมหิดลและ พญ.โสภา
> >เกริกไกรกุล หน่วยประสาทวิทยา วิทยาลัยแพทยศาสตร์ กรุงเทพฯ
> >และวชิรพยาบาลขอย้ำว่าเป็นแบบทดสอบเบื้องต้นเท่านั้น ซึ่งแม้จะตอบว่า "ใช่"
> >ทุกข้อก็ไม่ได้หมายความว่าจะเป็นอาการของอัลไซเมอร์
> >ทุกกรณีไปเนื่องจากการวินิจฉัยโรคจะมีปัจจัยเรื่องความถี่ที่ต้องนำมาพิจารณาด้วย
> >
> >1. หาของใช้ในบ้านไม่พบ
> >
> >2. จำสถานที่ที่เคยไปบ่อยๆ ไม่ได้
> >
> >3. ต้องกลับไปทบทวนงานที่แม้จะตั้งใจทำซ้ำถึง 2 ครั้ง
> >
> >4. ลืมของที่ตั้งใจว่าจะนำเอาออกไปนอกบ้านด้วย
> >
> >5. ลืมเรื่องที่ได้รับฟังมาเมื่อวานนี้หรือเมื่อ 2-3 วันก่อน
> >
> >6. ลืมเพื่อนสนิทหรือญาติสนิทหรือบุคคลที่คบหากันบ่อยๆ
> >
> >7. ไม่สามารถเข้าใจเนื้อเรื่องในหนังสือพิมพ์หรือวารสารที่อ่าน
> >
> >8. ลืมบอกข้อความที่คนอื่น วานให้มาบอกอีกคนหนึ่ง
> >
> >9. ลืมข้อมูลส่วนตัวของตนเอง เช่น วันเกิด ที่อยู่
> >
> >10. สับสนในรายละเอียดของเรื่องที่ได้รับฟังมา
> >
> >11. ลืมที่ที่เคยวางสิ่งของนั้นเป็นประจำ
> >หรือมองหาสิ่งของนั้นในที่ที่ไม่น่าจะ
> >วางไว้
> >
> >12. ขณะเดินทางหรือเดินเล่นอยู่ในอาคารที่เคยไปบ่อยๆ
> >มักเกิดเหตุการณ์หลงทิศหรือหลงทาง
> >
> >13. ต้องทำกิจวัตรประจำวันบางอย่างซ้ำถึง 2 ครั้ง
> >เพราะมีความผิดพลาดเกิดขึ้นเช่น ใส่น้ำตาลมากเกินไปในเวลาปรุงอาหาร
> >หรือเดินไปหวีผมซ้ำอีกครั้ง ซึ่งเมื่อ สักครู่เพิ่งได้หวีผมเสร็จ
> >
> >14. เล่าเรื่องเดิมซ้ำอีกครั้ง ซึ่งเมื่อสักครู่เพิ่งได้เล่าเสร็จ
> >
> >ถ้าติ๊กถูกทุกข้อ ก็ระวังหน่อย อาจถึงเวลาต้องไปพบแพทย์เพื่อให้วินิจฉัยเกี่ยว
> >กับระดับความถี่ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นด้วย
> >
> > ปี 2548 ไทยมีผู้ป่วยด้วยโรคอัลไซเมอร์ 1.94 แสนคนและในปี 2549
> >ตัวเลขขยับขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 2-3
> >แสนคนโดยประมาณการผู้ป่วยในไทยคาดว่าจะทะลุหลักล้านภายใน 30 ปีข้างหน้า !"
> >พญ.สิรินทร กล่าว โรคนี้น่ากลัวกว่ามะเร็ง
> >เพราะมะเร็งอาจหายหรือไม่หาย แต่อัลไซเมอร์ ไม่มีทางหาย ถ้าไม่อยากเป็น 1
> >ในล้านคนของผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์
> >ก็ต้องพยายามทำตัวให้ห่างจากปัจจัยเสี่ยงศึกษาข้อมูลและเริ่มต้นปฏิบัติอย่างจริงจัง
> >โรคร้ายนี้ไม่เข้าใครออกใคร
> >เคยเก่งเคยฉลาดเป็นดอกเตอร์แต่ตัวอย่างก็มีให้เห็นมากมายว่าทั้งเก่งทั้งรอบรู้ขนาดไหนก็เป็นอัลไซเมอร์ได้เหมือนกัน
> > แต่ก็ไม่ต้องวิตกหรือกลัวมากเกินเหตุ ที่ขี้หลงขี้ลืมถี่ขึ้นพักหลังๆ นี้
> >อาจเป็นเพียงความเสื่อมธรรมดา หากกังวลก็ไปพบแพทย์
>